วันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ย่อ กฏหมายอาญา บทบัญญัติทั่วไป

ย่อหลักกฎหมายเพื่อความคล่องตัว
1. ขาดองค์ประกอบความผิด – ไม่มีความผิด
2. ไม่รู้ข้อเท็จจริง – ไม่มีความผิด (มาตรา 59 วรรคสาม)
3. สำคัญผิดในข้อเท็จจริง – แล้วแต่กรณี (มาตรา 62) มีเหตุเป็นคุณ ประการ คือ
1) เหตุยกเว้นความผิด – ไม่มีความผิด เข่น ป้องกันตาม มาตรา 68 ฯลฯ
2) เหตุยกเว้นโทษ – มีความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ เช่น จำเป็นตาม มาตรา 67 ฯลฯ
3) เหตุลดหย่อนโทษ – มีความผิดแต่ศาลจะลงน้อยเพียงใดก็ได้ เช่น บันดาลโทสะ ตาม มาตรา 72
ฯลฯ
4. สำคัญผิดในตัวบุคคล – แก้ตัวไม่ได้ (มาตรา 61)
5. ไม่รู้กฎหมาย – แก้ตัวไม่ได้ (มาตรา 64)
6. คนวิกลจริต – มีความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ (มาตรา65)
-
ถ้ารู้ผิดชอบอยู่บ้าง – ศาลลงน้อยเพียงใดก็ได้ (มาตรา 65 วรรคสอง)
7. ความมึนเมา – แก้ตัวไม่ได้ เว้นแต่ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นทำให้มึนเมา
หรือถูกขืนใจให้เสพและได้กระทำในขณ ถ้ารู้ผิดชอบอยู่บ้าง – ศาลลงน้อยเพียงใดก็ได้ (มาตรา 65 วรรคสอง)
7. ความมึนเมา – แก้ตัวไม่ได้ เว้นแต่ไม่รู้ว่าสิ่งนั้นทำให้มึนเมา
หรือถูกขืนใจให้เสพและได้กระทำในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ (มาตรา 66)
ถ้ารู้ผิดชอบอยู่บ้าง – ศาลลงน้อยเพียงใดก็ได้ (มาตรา 66 ตอนท้าย)
8. จำเป็น – มีความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ (มาตรา 67)
9. ป้องกัน – ไม่มีความผิด (มาตรา 6ะไม่สามารถรู้ผิดชอบ หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ (มาตรา 66)
ถ้ารู้ผิดชอบอยู่บ้าง – ศาลลงน้อยเพียงใดก็ได้ (มาตรา 66 ตอนท้าย)
8. จำเป็น – มีความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ (มาตรา 67)
9. ป้องกัน – ไม่มีความผิด (มาตรา 6
10. เกินกว่าเหตุ – ศาลลงน้อยเพียงใดก็ได้ (มาตรา 69)
ถ้าเกิดจากความตื่นเต้นตกใจกลัว – ศาลจะไม่ลงก็ได้ (มาตรา 69ตอนท้าย)




11. กระทำตามคำสั่งเจ้าพนักงาน มีความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ เว้นแต่จะรู้ว่าเป็นคำสั่งโดยมิชอบ
(มาตรา 70)

12. ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ระหว่างสามีภริยา – มีความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ (มาตรา 71 วรรคแรก)
13. บันดาลโทสะ – ศาลลงน้อยเพียงใดก็ได้ (มาตรา 72)
14. เด็กอายุไม่เกิน 10 ปี – มีความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ (มาตรา 73)
15. เด็กอายุกว่า 10 ปี แต่ยังไม่เกิน 15 ปี  ให้ใช้วิธีการสำหรับเด็ก (มาตรา 74)
16.เด็กอายุกว่า 15 ปี แต่ยังไม่เกิน 18 ปี – ให้ใช้วิธีการสำหรับเด็ก หรือลดมาตราส่วนโทษลงกึ่งหนึ่ง (มาตรา 75)
17. เหตุบรรเทาโทษ – ศาลลดโทษที่จะลงไม่เกินกึ่งหนึ่ง (มาตรา 7
18. โทษปรับสถานเดียว – ชำระค่าปรับในอัตราสูงสุด ก่อนศาลเริ่มต้นสืบพยานคดีระงับ (มาตรา 79)
19. พยายาม – ระวางโทษ ใน ของระวางโทษ) (มาตรา 80)
20. พยายามที่เป็นไปไม่ได้โดยแน่แท้ – ระวางโทษไม่เกินกึ่งหนึ่ง (มาตรา 81)
ถ้าหลงเชื่ออย่างงมงาย – ศาลจะไม่ลงก็ได้ (มาตรา 81 วรรคแรก)
21. ไม่ต้องรับโทษฐานพยายามแต่รับตามที่กฎหมายบัญญัติเป็นความผิด (มาตรา 82)
22. ตัวการ – ตัดสินใจร่วมกันและอยู่ในสถานที่เดียวกัน พร้อมที่จะช่วยเหลือกันได้ (มาตรา 83)
23. ผู้ใช้ – ทำให้ผู้อื่นตัดสินใจรับโทษเสมือนตัวการ (มาตรา 84)
ถ้าความผิดมิได้กระทำลง – ต้องระวางโทษ ใน 3 (ของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น) (มาตรา
84 วรรคสอง)
24. ผู้โฆษณา – ประกาศ ความผิดไม่ต่ำกว่า เดือน แต่ความผิดมิได้กระทำลง –ระวางโทษกึ่งหนึ่ง (ของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น) (มาตรา 85)
ถ้าได้มีการกระทำความผิดแล้ว – รับโทษเสมือนตัวการ (มาตรา 85 วรรคสอง)
25. ผู้สนับสนุน – เขาตัดสินใจก่อนแล้วเราจึงมาช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกก่อน
หรือขณะกระทำความผิดต้องระวางโทษ ใน 3 (ของโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิดที่สนับสนุน (มาตรา 86)
26. ผู้ใช้ – ผู้โฆษณา – ประกาศ หรือผู้สนับสนุนเข้าขัดขวางมิให้บรรลุผล
27. ผู้ใช้ – ผู้โฆษณา ประกาศ หรือผู้สนับสนุนเข้าขัดขวางมิให้บรรลุผล
ผู้ใช้ รับเพียง 1 ใน 3 มาตรา 84 วรรคสอง
ผู้โฆษณา – ประกาศ – รับผิดเพียงกึ่งหนึ่ง ตามมาตรา 85 วรรคแรก
ผู้สนับสนุน – ไม่ต้องรับโทษ (มาตรา 88)
28. เหตุส่วนตัว เหตุในลักษณะคดี – มาตรา 89
29. กรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท – ลงบทหนักสุด (มาตรา90)
30. ต่างกรรมต่างวาระ – ลงโทษเรียงกระทงความผิด (มาตรา 91)
31. หลักเกณฑ์กรรมเดียว
1) กระทำครั้งเดียว เจตนาเดียว หรือ
2) กระทำหลายครั้งแต่มี เจตนาเดียว (แยกเจตนามิได้) (มาตรา 90)
32. หลักเกณฑ์ต่างกรรม – แยกเจตนา (มีหลายเจตนา แม้ในวาระเดียวกัน) (มาตรา 91)
33. การเพิ่มโทษธรรมดา – เพิ่ม ใน ของโทษ ของโทษที่ศาลกำหนด (เพิ่มโทษที่จะลง) (มาตรา92)
หลักเกณฑ์ – กระทำผิดอีกในระหว่างรับโทษ หรืภายใน ปี นับแต่วันพ้นโทษ (มาตรา 92)
34. การเพิ่มโทษหนัก – เพิ่มกึ่งหนึ่งของโทษที่ศาลกำหนด (เพิ่มโทษที่จะลง) (มาตรา 93)
หลักเกณฑ์
1) กระทำผิดซ้ำอนุมาตราเดียวกันอีกในระหว่างรับโทษ หรือภายใน ปีนับแต่วันพ้นโทษ
2) ความผิดครั้งแรกศาลพิพากษาจำคุกไม่น้อยกว่า เดือน และ
3) ศาลพิพากษาครั้งหลังถึงจำคุก (เท่าไหร่ก็ได้)(มาตรา 93)
4) ศาลผิดฐานประมาทลหุโทษ หรืออายุไม่เกิน 17 ปี ไม่ว่าครั้งก่อนหรือครั้งหลัง ไม่นับ (มาตรา 94)
35. อายุความฟ้องร้อง – มาตรา 95 นับแต่วันกระทำความผิด
36. อายุความฟ้องร้องในความผิดอันยอมความได้ – ต้องร้องทุกข์ภายใน เดือน นับแต่รู้เรื่องรู้ตัว (มาตรา 96)
37. อายุความบังคับคดี – มาตรา 98 นับแต่วันคำพิพากษาถึงที่สุด หรือ หลบหนี
38. ความผิดลหุโทษ – ความผิดที่ระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ เช่นว่ามานี้ด้วยกัน (ดูที่ระวางโทษมิใช่ดูโทษที่จะลง) (มาตรา 102)
39. พยายามลหุโทษ – ไม่ต้องรับโทษ (มาตรา 105)
40 สนับสนุนลหุโทษ – ไม่ต้องรับโทษ (มาตรา 106)
(จบสรุปย่อ วิธีไล่สายกฎหมายอาญา เล่ม 1 (มาตรา 1 – 106)








ไม่มีความคิดเห็น: